วันอังคารที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

ใบงานที่ 1.1 เรื่องส่วนประกอบของโปรแกรม Flash CS3

ใบงานที่ 1.1 เรื่องส่วนประกอบของโปรแกรม Flash CS3
หมายเลข 4 คือ (Tool Bar) แถบเครื่องมือ(ในเอกสารตรงกับข้อ1 )


หน้าที่ กลุ่มเครื่องมือสร้างงานและจัดการวัตถุ ประกอบด้วยปุ่มเครื่องมือย่อยต่างๆ


หมายเลข 6 คือ (Stage ) สเตจ(ในเอกสารตรงกับข้อ 2)


หน้าที่ พื้นที่ที่เรากำหนดขอบเขตขนาดของการทำงาน ซึ่งเราสามารถตั้งค่าหรือปรับได้


หมายเลข 3 คือ ( Layer ) เลเยอร์ (ในเอกสารตรงกับข้อ 3)


หน้าที่ จะทำให้เราทำงานเป็นระบบมากขึ้น เราสามารถแยกวัตถุต่างๆ ออกจากกันให้เป็นอิสระในการแสดงผลได้ ซึ่งทำให้สะดวกและง่ายต่อการทำงาน


หมายเลข 2 คือ ( Time Line ) ไทม์ไลน์ (ในเอกสารตรงกับข้อ 4)


หน้าที่ ไทม์ไลน์มีไว้สำหรับควบคุมและกำหนดการนำเสนอผลงาน การเคลื่อนไหวต่างๆ โดยจะประกอบ ด้วยเฟรม


หมายเลข 1 คือ (Menu Bar ) เมนูบาร์ (ในเอกสารตรงกับข้อ 5)


หน้าที่ ซึ่งประกอบด้วยเมนูหลายอย่างที่จำเป็นในการสั่งงาน เช่น เมนู Window มีสำหรับแสดง และ ซ่อน เครื่องมือทุกชนิด หน้าต่างเครื่องมือที่หายไปเราสามารถมาสั่งเรียกเปิดที่นี่


หมายเลข 5 คือ (Panel ) พาเนล (ในเอกสารตรงกับข้อ 6)


หน้าที่ หน้าต่างที่ทำหน้าที่แสดง พาเนลย่อย ของโปรแกรม โดยในแต่ละ พาเนลย่อย ก็จะ ประกอบด้วยรายละอียดของการควบคุมการแสดงการปรับแต่งไว้ในตัว


หมายเลข 7 คือ (Properties ) (ในเอกสารตรงกับข้อ 7)


หน้าที่ ไว้สำหรับกำหนดคุณสมบัติให้กับพื้นที่การทำงานและสิ่งต่างๆที่เราจะใช้งาน























ใบงานที่1.1 ส่วนประกอบของหน้าต่างโปรแกรม Microsoft Visual C# 2008


ใบงานที่1.1 ส่วนประกอบของหน้าต่างโปรแกรม Microsoft Visual C# 2008
หมายเลข1 เรียกว่า Title bar      ( ในเอกสารตรงกับข้อ 7)               
 เป็นส่วนบอกชื่อโปรแกรมและชื่อโปรเจ็กต์
หมายเลข 2 เรียกว่า
Menu bar      ( ในเอกสารตรงกับข้อ 6 )                                   
  เป็นแถบแสดงรายการคำสั่ง
หมายเลข 3 เรียกว่า
Standard Toolbar      ( ในเอกสารตรงกับข้อ 8)                      
  ใช้สำหรับเรียกใช้แทนคำสั่ง Menu bar
หมายเลข 4 เรียกว่า
Editor area        ( ในเอกสารตรงกับข้อ 5)                              
  พื้นที่ใช้สำหรับการเขียนโปรแกรมและการออกแบบ
หมายเลข 5 เรียกว่า
ToolBox ( ในเอกสารตรงกับข้อ 1)                 
หรือกล่องเครื่องมือ มี Control ต่าง ๆ ใช้สำหรับการออกแบบวัตถุต่าง ๆ ลงบนส่วนของการออกแบบฟอร์มในพื้นที่หมายเลข 4
หมายเลข 6 เรียกว่า
Solution Explorer ( ในเอกสารตรงกับข้อ 2)                 
ใช้สำหรับควบคุมการทำงานของหน้าจอ หมายเลข 4
หมายเลข 7 เรียกว่า
Properties Window ( ในเอกสารตรงกับข้อ 3)                 
ใช้สำหรับการกำหนดคุณสมบัติของวัตถุในส่วนการออกแบบ
หมายเลข 8 เรียกว่า
Error List ( ในเอกสารตรงกับข้อ 4)                 
ใช้สำหรับเวลา Compile โปรแกรม ดูว่ามีข้อผิดพลาดจากการเขียนโปรแกรมหรือไม่ มีที่บรรทัดใดบ้าง